หน้าเว็บ
ประสิทธิภาพ
ประสิทธิภาพ
มีสมการหลายอยางเพื่อใชหาประสิทธิภาพของไซโคลน ในรูปของ grade หรือ fractional efficiency สําหรับอนุภาคขนาดหนึ่งๆ fractional efficiency หมายถึง สัดสวน (fraction) ของ อนุภาคขนาดหนึ่งที่ถูกไซโคลนเก็บไดเมื่อเทียบกับสวนอนุภาคขนาดนั้นที่เขาสูไซโคลน
ทีนี้จะกลาวถึงวิธีหาประสิทธิภาพของไซโคลน โดยวิธีของ Lapple (1951) และทฤาฏี ของ Lecht
1. วิธีของ Lapple ใชหลักการสมดุลของแรงเหวี่ยงและแรง drag ที่กระทําในไซโคลน เพื่อคํานวณหาขนาด ตัดของอนุภาค, [d10]cut โดยใชสมการ (3.2.1) หรือรูป 3.2.5 Lapple ไดนําผลจากการทดลองของไซโคลนที่มี รูปรางคลายกัน สรุปไดกราฟเพื่อใชคํานวณหาประสิทธิภาพของไซโคลน ดังในรูปที่ 3.2.7 ซึ่ง plot ระหวาง ประสิทธิภาพของไซโคลน (η1) กับอัตราสวนของขนาดอนุภาคกับขนาดตัด (d10/[d10]cut ) ใชไดกับไซโคลน ที่มีรูปรางคลายกัน
ในการคํานวณหา fractional efficiency ทําไดดังนี้
1.คํานวณหาขนาดตัด [d10]cut สําหรับไซโคลนที่ตองการหาประสิทธิภาพโดยใชสมการ (1.1)
2. คูณ [d10]cutดวยคาอัตราสวน d10/[d10]cut หลายๆ คาที่ไดจากรูป 3.2.7
3. ที่คา d10/[d10]cut แตละคาอานคาประสิทธิภาพจากรูป 3.2.7 แลวนําไป plot กับคาที่ไดจา ขอ 2 คือ (d10/[d10]cut) x [d10]cut กราฟใหมที่ไดนี้เปน curve แสดงประสิทธิภาพแยกตามขนาด (fractional efficiency curve) ของไซโคลนที่ตองการหาประสิทธิภาพ สําหรับคาประสิทธิภาพรวม (overall efficiency) จะหาไดถารูการ กระจายขนาดอนุภาค (particle size distribution) ของฝุนที่เขามา
โดย η = Σ η1 W2 (1..2)
เมื่อ η = ประสิทธิภาพรวม
η1 = ประสิทธิภาพในการคัดขนาดในแตละชวงขนาด (grade หรือ fractional efficiency)
W2 = เปอรเซนตโดยน้ําหนักของอนุภาคในแตละชวงขนาด
ประสิทธิภาพของไซโคลน VS. อัตราสวนขนาดอนุภาค
2. ทฤษฏีของ Leith & Licht สมการที่ใชคํานวณหา Fractional efficiency ที่ใชมากคือ สมการของ Leith & Licht (1972) ซึ่งเขียน อยูในรูป
η1 = l – exp [-2(Cψ) 1/(2n+2)]
= [P10 d2 10 V1 (n+1)] /18 µ DC
η1 = fractional efficiency
C = Configuration parameter
ψ = impaction parameter
n = vortex exponent
หาไดจาก n = 1 – [(1 – 0.67 DC 0.14 ) (T/283)0.3]
T = อุณหภูมิของแกส, °K
P10 = ความหนาแนนของอนุภาค, kg/m3
d10 = ขนาดของอนุภาค, m
DC = ขนาดเสนผาศูนยกลางของไซโคลน, m
V1 = ความเร็วของแกสเขาสูไซโคลน, m/s
µ = ความหนืดของแกส, kg/m – s
คาความดันลด (Pressure drop)
เปนคาที่บอกถึงพลังงานที่ตองใชในการแยกอนุภาคในไซโคลน คาความดันลด (∆P) หา ไดจากวิธีของ Shepherd และ Lapple (1939) ดังนี้
∆ P (cm.wg) = 5.12 P10 V2 NH
เมื่อ P10 = เปนความหนาแนนของกระแสแกสที่มีอนุภาคอยูดวย, g/cm3
V1 = ความเร็วเขา, m/s
NH = จํานวน inlet velocity heads = 16 HC BC/ DC 2
HC = ความสูงของทอนําเขา
BC = เสนผานศูนยกลางของทอออก
คา ∆ P ที่ยอมรับไดในการเดินเครื่องไซโคลน มักนอยกวา 20 cm.wg
สมรรถนะของไซโคลน (Cyclone performance)
การหาสมรรถนะของไซโคลน ไดแกการหาประสิทธิภาพในการเก็บอนุภาคและการหาคา ความดันลด (pressure drop) เพื่อหาพลังงานที่ตองใหแกระบบ ในการหาประสิทธิภาพของไซโคลน จําเปนตองเขาใจความหมายของขนาดตัดของอนุภาค (cutsize, [d10]cut) และขนาดวิกฤตของอนุภาค (critical particle size, [d10]cut)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น